2009-02-14

พุทธศาสนาในประเทศไทย

พระพุทธศาสนาเข้ามาสู่ดินแดนที่เป็นประเทศไทยในปัจจุบัน เมื่อประมาณ พ.ศ. 236 สมัยเดียวกันกับประเทศศรีลังกา ด้วยการส่งพระสมณทูตไปเผยแผ่พระพุทธศาสนาในประเทศต่าง ๆ 9 สาย โดยการอุปถัมภ์ของพระเจ้าอโศกมหาราช กษัตริย์อินเดีย

ในขณะนั้นประเทศไทยรวมอยู่ในดินแดนที่เรียกว่าสุวรรณภูมิ ซึ่งมีขอบเขตกว้างขวาง มีประเทศรวมกันอยู่ในดินแดนส่วนนี้ทั้ง 7 ประเทศในปัจจุบัน ได้แก่ ไทย พม่า ศรีลังกา ญวน กัมพูชา ลาว มาเลเซีย ซึ่งสันนิษฐานว่ามีใจกลางอยู่ที่จังหวัดนครปฐมของไทย เนื่องจากได้พบโบราณวัตถุที่ สำคัญ เช่นพระปฐมเจดีย์ และรูปธรรมจักรกวางหมอบเป็นหลักฐานสำคัญ แต่พม่าก็สันนิษฐานว่ามีในกลางอยู่ที่เมืองสะเทิม ภาคใต้ของพม่า พระพุทธศาสนาเข้ามาสู่สุวรรณภูมิในยุคนี้ นำโดยพระโสณะและพระอุตตระ พระเถระชาวอินเดีย เดินทางมาเผยแผ่พุทธศาสนาในแถบนี้ จนเจริญรุ่งเรืองมาตามลำดับ ตามยุคสมัยซึ่งจำแนกได้ดังต่อไปนี้

พระพุทธศาสนาในประเทศไทย ก่อนสมัยสุโขทัย อันได้แก่
# 1 สมัยทวาราวดี
# 2 สมัยอาณาจักรอ้ายลาว
# 3 สมัยอาณาจักรศรีวิชัย (พุทธศตวรรษที่ 13)
# 4 สมัยลพบุรี (พุทธศตวรรษที่ 15)
# 5 สมัยเถรวาทแบบพุกาม

พุทธศาสนาในประเทศไทย สมัยสุโขทัย รวมถึงสมัยล้านนา
# 6 สมัยสุโขทัย
# 7 สมัยล้านนา

พระพุทธศาสนาในประเทศไทย สมัยอยุธยา และกรุงธนบุรี
# 8 สมัยอยุธยา
* 8.1 สมัยอยุธยาช่วงแรก (พ.ศ. 1991 - 2031)
* 8.2 สมัยอยุธยาช่วงที่สอง ( พ.ศ. 2034 - 2173)
* 8.3 สมัยอยุธยาช่วงที่สาม (พ.ศ. 2173 - 2310)
* 8.4 สมัยอยุธยาช่วงที่สี่ (พ.ศ. 2275 - 2310)
# 9 สมัยกรุงธนบุรี

พระพุทธศาสนาในประเทศไทย สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ จนถึงปัจจุบัน
# 10 สมัยกรุงรัตนโกสินทร์
* 10.1 รัชกาลที่ 1 (พ.ศ. 2325 - 2352)
* 10.2 รัชกาลที่ 2 (พ.ศ. 2352 - 2367)
* 10.3 รัชกาลที่ 3 (พ.ศ. 2367 - 2354)
* 10.4 รัชกาลที่ 4 (พ.ศ. 2394 -2411)
* 10.5 รัชกาลที่ 5 (พ.ศ. 2411 - 2453)
* 10.6 รัชกาลที่ 6 (พ.ศ. 2453 -2468)
* 10.7 รัชกาลที่ 7 (พ.ศ. 2468 - 2477)
* 10.8 รัชกาลที่ 8 (พ.ศ. 2477 - 2489)
* 10.9 สมัยรัชกาลที่ 9 (พ.ศ. 2489 - ปัจจุบัน)

นิกายในพระพุทธศาสนา ในประเทศไทย

ที่มา : วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

No comments:

ข้อความและรูปภาพที่ปรากฏในเว็บไซด์ที่เป็นของ Andaman Amulet ไม่สงวนสิทธิ์ สามารถนำไปเผยแพร่ต่อได้
ข้อความและรูปภาพบางส่วน นำมาจากเว็บไซด์หลายแห่ง ขอขอบคุณมา ณ โอกาสนี้

ติดต่อผู้จัดทำได้ที่ E-mail : skarnwigit@gmail.com


ผู้ให้ย่อมเป็นที่รัก ผู้ขอมักเป็นที่รังเกียจ