2009-09-13

กรณวจนวาร ๕ หมวด

พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑ พระวินัยปิฎก เล่มที่ ๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
ปาราชิกกัณฑ์ จตุตถปาราชิกสิกขาบท

ปัจจยปฏิสังยุตวารกถา เปยยาล ๑๕ หมวด
กรณวจนวาร ๕ หมวด


๑. ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า วิหารของท่านอันภิกษุใดอาศัยแล้ว ภิกษุนั้นเข้าแล้ว เข้าอยู่
เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้ เป็นผู้ชำนาญ ทำให้แจ้ง ซึ่งปฐมฌาน ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ...
๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ... ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่า
กล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ
๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย เมื่อเขาไม่เข้าใจ
ต้องอาบัติทุกกฏ
ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า วิหารของท่านอันภิกษุใดอาศัยแล้ว ภิกษุนั้นเข้าแล้ว เข้าอยู่
เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้ เป็นผู้ชำนาญ ทำให้แจ้ง ซึ่งทุติยฌาน ... ตติยฌาน ... จตุตถฌาน ... สุญญตวิโมกข์
... อนิมิตตวิโมกข์ ... อัปปณิหิตวิโมกข์ ... สุญญตสมาธิ ... อนิมิตตสมาธิ ... อัปปณิหิตสมาธิ
... สุญญตสมาบัติ ... อนิมิตตสมาบัติ ... อัปปณิหิตสมาบัติ ... วิชชา ๓ ... สติปัฏฐาน ๔ ...
สัมมัปปธาน ๔ ... อิทธิบาท ๔ ... อินทรีย์ ๕ ... พละ ๕ ... โพชฌงค์ ๗ ... อริยมรรคมีองค์ ๘
... โสดาปัตติผล ... สกทาคามิผล ... อนาคามิผล ... อรหัตตผล ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ...
๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ... ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่า
กล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ
๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย เมื่อเขาไม่
เข้าใจ ต้องอาบัติทุกกฏ
ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า วิหารของท่านอันภิกษุใดอาศัยแล้ว ราคะ ภิกษุนั้นสละแล้ว
คายแล้ว ปล่อยแล้ว ละแล้ว สลัดแล้ว เพิกแล้ว ถอนแล้ว ... โทสะ ภิกษุนั้นสละแล้ว
คายแล้ว ปล่อยแล้ว ละแล้ว สลัดแล้ว เพิกแล้ว ถอนแล้ว ... โมหะ ภิกษุนั้นสละแล้ว
คายแล้ว ปล่อยแล้ว ละแล้ว สลัดแล้ว เพิกแล้ว ถอนแล้ว ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ...
๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ... ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่า
กล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ
๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย เมื่อเขาไม่
เข้าใจ ต้องอาบัติทุกกฏ
ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า วิหารของท่านอันภิกษุใดอาศัยแล้ว จิตของภิกษุนั้นเปิดจากราคะ
... จิตของภิกษุนั้นเปิดจากโทสะ ... จิตของภิกษุนั้นเปิดจากโมหะ ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ...
๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ... ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่า
กล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ
๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย เมื่อเขาไม่
เข้าใจ ต้องอาบัติทุกกฏ
ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า วิหารของท่านอันภิกษุใดอาศัยแล้ว ภิกษุนั้นเข้าแล้ว เข้าอยู่
เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้ เป็นผู้ชำนาญ ทำให้แจ้ง ซึ่งปฐมฌานในสุญญาคาร ... ซึ่งทุติยฌานใน
สุญญาคาร ... ซึ่งจตุตถฌานในสุญญาคาร ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ... ๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ...
๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าว
แล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ
๗ อำพรางความจริง เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติทุกกฏ
๒. ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า จีวรของท่านอันภิกษุใดใช้สอยแล้ว ภิกษุนั้นเข้าแล้ว เข้าอยู่
เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้ เป็นผู้ชำนาญ ทำให้แจ้ง ซึ่งปฐมฌาน ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ...
๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ... ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่า
กล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ
๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย เมื่อเขาไม่
เข้าใจ ต้องอาบัติทุกกฏ
ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า จีวรของท่านอันภิกษุใดใช้สอยแล้ว ภิกษุนั้นเข้าแล้ว เข้าอยู่
เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้ เป็นผู้ชำนาญ ทำให้แจ้ง ซึ่งทุติยฌาน ... ตติยฌาน ... จตุตถฌาน ...
สุญญตวิโมกข์ ... อนิมิตตวิโมกข์ ... อัปปณิหิตวิโมกข์ ... สุญญตสมาธิ ... อนิมิตตสมาธิ ...
อัปปณิหิตสมาธิ ... สุญญตสมาบัติ ... อนิมิตตสมาบัติ ... อัปปณิหิตสมาบัติ ... วิชชา ๓ ...
สติปัฏฐาน ๔ ... สัมมัปปธาน ๔ ... อิทธิบาท ๔ ... อินทรีย์ ๕ ... พละ ๕ ... โพชฌงค์ ๗ ...
อริยมรรคมีองค์ ๘ ... โสดาปัตติผล ... สกทาคามิผล ... อนาคามิผล ... อรหัตตผล ด้วยอาการ
๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ... ๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ... ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ
๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น
๕ อำพรางความถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติ
ถุลลัจจัย เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติทุกกฏ
ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า จีวรของท่านอันภิกษุใดใช้สอยแล้ว ราคะ ภิกษุนั้นสละแล้ว
คายแล้ว ปล่อยแล้ว ละแล้ว สลัดแล้ว เพิกแล้ว ถอนแล้ว ... โทสะ ภิกษุนั้นสละแล้ว
คายแล้ว ปล่อยแล้ว ละแล้ว สลัดแล้ว เพิกแล้ว ถอนแล้ว ... โมหะ ภิกษุนั้นสละแล้ว
คายแล้ว ปล่อยแล้ว ละแล้ว สลัดแล้ว เพิกแล้ว ถอนแล้ว ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ...
๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ... ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่า
กล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ
๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย เมื่อเขาไม่
เข้าใจ ต้องอาบัติทุกกฏ
ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า จีวรของท่านอันภิกษุใดใช้สอยแล้ว จิตของภิกษุนั้นเปิดจากราคะ
... จิตของภิกษุนั้นเปิดจากโทสะ ... จิตของภิกษุนั้นเปิดจากโมหะ ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ...
๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ... ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่า
กล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ
๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย เมื่อเขาไม่
เข้าใจ ต้องอาบัติทุกกฏ
ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า จีวรของท่านอันภิกษุใดใช้สอยแล้ว ภิกษุนั้นเข้าแล้ว เข้าอยู่
เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้ เป็นผู้ชำนาญ ทำให้แจ้ง ซึ่งปฐมฌานในสุญญาคาร ... ซึ่งทุติยฌานใน
สุญญาคาร ... ซึ่งตติยฌานในสุญญาคาร ... ซึ่งจตุตถฌานในสุญญาคาร ด้วยอาการ ๓ อย่าง ...
๔ อย่าง ... ๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ... ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว
ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความ
ถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติทุกกฏ
๓. ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า บิณฑบาตของท่านอันภิกษุใดบริโภคแล้ว ภิกษุนั้นเข้าแล้ว
เข้าอยู่ เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้ เป็นผู้ชำนาญ ทำให้แจ้ง ซึ่งปฐมฌาน ด้วยอาการ ๓ อย่าง ...
๔ อย่าง ... ๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ... ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว
ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความ
ถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติทุกกฏ
ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า บิณฑบาตของท่านอันภิกษุใดบริโภคแล้ว ภิกษุนั้นเข้าแล้ว เข้าอยู่
เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้ เป็นผู้ชำนาญ ทำให้แจ้ง ซึ่งทุติยฌาน ... ตติยฌาน ... จตุตถฌาน ...
สุญญตวิโมกข์ ... อนิมิตตวิโมกข์ ... อัปปณิหิตวิโมกข์ ... สุญญตสมาธิ ... อนิมิตตสมาธิ ...
อัปปณิหิตสมาธิ ... สุญญตสมาบัติ ... อนิมิตตสมาบัติ ... อัปปณิหิตสมาบัติ ... วิชชา ๓ ...
สติปัฏฐาน ๔ ... สัมมัปปธาน ๔ ... อิทธิบาท ๔ ... อินทรีย์ ๕ ... พละ ๕ ... โพชฌงค์ ๗ ...
อริยมรรคมีองค์ ๘ ... โสดาปัตติผล ... สกทาคามิผล ... อนาคามิผล ... อรหัตตผล ด้วยอาการ
๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ... ๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ... ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ
๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น
๕ อำพรางความถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติ
ถุลลัจจัย เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติทุกกฏ
ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า บิณฑบาตของท่านอันภิกษุใดบริโภคแล้ว ราคะ ภิกษุนั้นสละแล้ว
คายแล้ว ปล่อยแล้ว ละแล้ว สลัดแล้ว เพิกแล้ว ถอนแล้ว ... โทสะ ภิกษุนั้นสละแล้ว
คายแล้ว ปล่อยแล้ว ละแล้ว สลัดแล้ว เพิกแล้ว ถอนแล้ว ... โมหะ ภิกษุนั้นสละแล้ว
คายแล้ว ปล่อยแล้ว ละแล้ว สลัดแล้ว เพิกแล้ว ถอนแล้ว ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ...
๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ... ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่า
กล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ
๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย เมื่อเขาไม่
เข้าใจ ต้องอาบัติทุกกฏ
ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า บิณฑบาตของท่านอันภิกษุใดบริโภคแล้ว จิตของภิกษุนั้นเปิด
จากราคะ ... จิตของภิกษุนั้นเปิดจากโทสะ ... จิตของภิกษุนั้นเปิดจากโมหะ ด้วยอาการ ๓ อย่าง ...
๔ อย่าง ... ๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ... ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลัง
กล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพราง
ความถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติทุกกฏ
ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า บิณฑบาตของท่านอันภิกษุใดบริโภคแล้ว ภิกษุนั้นเข้าแล้ว เข้าอยู่
เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้ เป็นผู้ชำนาญ ทำให้แจ้ง ซึ่งปฐมฌานในสุญญาคาร ... ซึ่งทุติยฌานใน
สุญญาคาร ... ซึ่งตติยฌานในสุญญาคาร ... ซึ่งจตุตถฌานในสุญญาคาร ด้วยอาการ ๓ อย่าง ...
๔ อย่าง ... ๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ... ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว
ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความ
ถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย เมื่อเขา
ไม่เข้าใจ ต้องอาบัติทุกกฏ
๔. ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า เสนาสนะของท่านอันภิกษุใดใช้สอยแล้ว ภิกษุนั้นเข้าแล้ว
เข้าอยู่ เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้ เป็นผู้ชำนาญ ทำให้แจ้ง ซึ่งปฐมฌาน ด้วยอาการ ๓ อย่าง ...
๔ อย่าง ... ๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ... ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว
ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความ
ถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติทุกกฏ
ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า เสนาสนะของท่านอันภิกษุใดใช้สอยแล้ว ภิกษุนั้นเข้าแล้ว เข้าอยู่
เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้ เป็นผู้ชำนาญ ทำให้แจ้ง ซึ่งทุติยฌาน ... ตติยฌาน ... จตุตถฌาน ...
สุญญตวิโมกข์ ... อนิมิตตวิโมกข์ ... อัปปณิหิตวิโมกข์ ... สุญญตสมาธิ ... อนิมิตตสมาธิ ...
อัปปณิหิตสมาธิ ... สุญญตสมาบัติ ... อนิมิตตสมาบัติ ... อัปปณิหิตสมาบัติ ... วิชชา ๓ ...
สติปัฏฐาน ๔ ... สัมมัปปธาน ๔ ... อิทธิบาท ๔ ... อินทรีย์ ๕ ... พละ ๕ ... โพชฌงค์ ๗ ... อริยมรรคมี
องค์ ๘ ... โสดาปัตติผล ... สกทาคามิผล ... อนาคามิผล ... อรหัตตผล ด้วยอาการ ๓ อย่าง ...
๔ อย่าง ... ๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ... ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่า
กล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ
๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย เมื่อเขาไม่
เข้าใจ ต้องอาบัติทุกกฏ
ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า เสนาสนะของท่านอันภิกษุใดใช้สอยแล้ว ราคะ ภิกษุนั้นสละ
แล้ว คายแล้ว ปล่อยแล้ว ละแล้ว สลัดแล้ว เพิกแล้ว ถอนแล้ว ... โทสะ ภิกษุนั้นสละ
แล้ว คายแล้ว ปล่อยแล้ว ละแล้ว สลัดแล้ว เพิกแล้ว ถอนแล้ว ... โมหะ ภิกษุนั้นสละ
แล้ว คายแล้ว ปล่อยแล้ว ละแล้ว สลัดแล้ว เพิกแล้ว ถอนแล้ว ด้วยอาการ ๓ อย่าง ...
๔ อย่าง ... ๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ... ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว
ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความ
ถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย เมื่อเขา
ไม่เข้าใจ ต้องอาบัติทุกกฏ
ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า เสนาสนะของท่านอันภิกษุใดใช้สอยแล้ว จิตของภิกษุนั้นเปิด
จากราคะ ... จิตของภิกษุนั้นเปิดจากโทสะ ... จิตของภิกษุนั้นเปิดจากโมหะ ด้วยอาการ ๓ อย่าง ...
๔ อย่าง ... ๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ... ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลัง
กล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพราง
ความถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติทุกกฏ
ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า เสนาสนะของท่านอันภิกษุใดใช้สอยแล้ว ภิกษุนั้นเข้าแล้ว
เข้าอยู่ เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้ เป็นผู้ชำนาญ ทำให้แจ้ง ซึ่งปฐมฌานในสุญญาคาร ... ซึ่งทุติย-
*ฌานในสุญญาคาร ... ซึ่งตติยฌานในสุญญาคาร ... ซึ่งจตุตถฌานในสุญญาคาร ด้วยอาการ ๓
อย่าง ... ๔ อย่าง ... ๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ... ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลัง
กล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพราง
ความถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติทุกกฏ
๕. ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า เครื่องยาอันเป็นปัจจัยของภิกษุไข้ของท่านอันภิกษุใด
บริโภคแล้ว ภิกษุนั้นเข้าแล้ว เข้าอยู่ เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้ เป็นผู้ชำนาญ ทำให้แจ้ง ซึ่งปฐมฌาน
ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ... ๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ... ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า
จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพราง
ความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง เมื่อคนอื่นเข้าใจ
ต้องอาบัติถุลลัจจัย เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติทุกกฏ
ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า เครื่องยาอันเป็นปัจจัยของภิกษุไข้ของท่านอันภิกษุใดบริโภคแล้ว
ภิกษุนั้นเข้าแล้ว เข้าอยู่ เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้ เป็นผู้ชำนาญ ทำให้แจ้ง ซึ่งทุติยฌาน ... ตติยฌาน ...
จตุตถฌาน ... สุญญตวิโมกข์ ... อนิมิตตวิโมกข์ ... อัปปณิหิตวิโมกข์ ... สุญญตสมาธิ ... อนิมิตต-
*สมาธิ ... อัปปณิหิตสมาธิ ... สุญญตสมาบัติ ... อนิมิตตสมาบัติ ... อัปปณิหิตสมาบัติ ... วิชชา ๓
... สติปัฏฐาน ๔ ... สัมมัปปธาน ๔ ... อิทธิบาท ๔ ... อินทรีย์ ๕ ... พละ ๕ ... โพชฌงค์ ๗
... อริยมรรคมีองค์ ๘ ... โสดาปัตติผล ... สกทาคามิผล ... อนาคามิผล ... อรหัตตผล ด้วยอาการ
๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ... ๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ... ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ
๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น
๕ อำพรางความถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติ
ถุลลัจจัย เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติทุกกฏ
ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า เครื่องยาอันเป็นปัจจัยของภิกษุไข้ของท่านอันภิกษุใดบริโภคแล้ว
ราคะ ภิกษุนั้นสละแล้ว คายแล้ว ปล่อยแล้ว ละแล้ว สลัดแล้ว เพิกแล้ว ถอนแล้ว ...
โทสะ ภิกษุนั้นสละแล้ว คายแล้ว ปล่อยแล้ว ละแล้ว สลัดแล้ว เพิกแล้ว ถอนแล้ว ...
โมหะ ภิกษุนั้นสละแล้ว คายแล้ว ปล่อยแล้ว ละแล้ว สลัดแล้ว เพิกแล้ว ถอนแล้ว ด้วย
อาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ... ๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ... ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าว
เท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น
๕ อำพรางความถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติ
ถุลลัจจัย เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติทุกกฏ
ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า เครื่องยาอันเป็นปัจจัยของภิกษุไข้ของท่านอันภิกษุใดบริโภคแล้ว
จิตของภิกษุนั้นเปิดจากราคะ ... จิตของภิกษุนั้นเปิดจากโทสะ ... จิตของภิกษุนั้นเปิดจากโมหะ
ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ... ๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ... ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า
จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพราง
ความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง เมื่อคนอื่นเข้าใจ
ต้องอาบัติถุลลัจจัย เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติทุกกฏ
ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า เครื่องยาอันเป็นปัจจัยของภิกษุไข้ของท่านอันภิกษุใดบริโภคแล้ว
ภิกษุนั้นเข้าแล้ว เข้าอยู่ เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้ เป็นผู้ชำนาญ ทำให้แจ้ง ซึ่งปฐมฌานในสุญญาคาร
... ซึ่งทุติยฌานในสุญญาคาร ... ซึ่งตติยฌานในสุญญาคาร ... ซึ่งจตุตถฌานในสุญญาคาร ด้วย
อาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ... ๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ... ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าว
เท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น
๕ อำพรางความถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติ
ถุลลัจจัย เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติทุกกฏ.

ที่มา : http://www.84000.org/tipitaka/pitaka1/v.php?B=01&A=10467&Z=10651

No comments:

ข้อความและรูปภาพที่ปรากฏในเว็บไซด์ที่เป็นของ Andaman Amulet ไม่สงวนสิทธิ์ สามารถนำไปเผยแพร่ต่อได้
ข้อความและรูปภาพบางส่วน นำมาจากเว็บไซด์หลายแห่ง ขอขอบคุณมา ณ โอกาสนี้

ติดต่อผู้จัดทำได้ที่ E-mail : skarnwigit@gmail.com


ผู้ให้ย่อมเป็นที่รัก ผู้ขอมักเป็นที่รังเกียจ